A question from Thailand: Is the platform economy a new face of labour exploitation?
Ride-share platforms have been causing conflict in recent years between workers using the platform and traditional drivers in Thailand’s second city Chiang Mai.
Ride-share platforms have been causing conflict in recent years between workers using the platform and traditional drivers in Thailand’s second city Chiang Mai.
Labour rights advocates and academics have called for improved protection of people who make a living through smartphone apps.
The true cost of convenienceSpecial report: Food delivery riders call for legal measures to protect their income and ensure their welfare
ดร.เกรียงศักดิ์ ธีระโกวิทขจร ผู้อำนวยการบริหารสถาบันแรงงานและเศรษฐกิจที่เป็นธรรม (Just Economy and Labor Institute: JELI) รำลึกถึงขบวนการแรงงานในสหรัฐอเมริกา ประเทศที่เป็นจุดกำเนิดของการปักหมุดวันแรงงานในปฏิทินโลก แต่ไม่มีการเฉลิมฉลองวันแรงงานด้วยเหตุผลทางการเมือง
คุยกับดร.เกรียงศักดิ์ ธีระโกวิทขจร ผู้อำนวยการสถาบันแรงงานและเศรษฐกิจที่เป็นธรรม (Just Economy and Labor Institute; JELI) ในวันที่การงานแห่งอนาคตพามนุษย์กลับไปทำงานหนักและเปราะบางยิ่งกว่ายุคไหน ๆ จาก ‘แรงงานขี่มอเตอร์ไซต์ส่งอาหาร’ ถึง ‘เศรษฐกิจสมานฉันท์’ มองไปข้างหน้า แล้วหันกลับมาสู่เบสิก เมื่อแพลตฟอร์ม + ระบบสหกรณ์ = ทางเลือกหนึ่งของเศรษฐกิจในอนาคต
Labour strikes against the algorithm Grab drivers have been pushing against the practices of their ‘partner’ as the pandemic swells their ranks
สถาบันแรงงานและเศรษฐกิจที่เป็นธรรม นำโดย ดร. เกรียงศักดิ์ ธีระโกวิทขจร ชักชวนนักวิชาการด้านกฎหมาย ผศ.ดร.ทศพล ทรรศนกุลพันธ์ หัวหน้าศูนย์ศึกษากฎหมายกับเทคโนโลยี จากคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มาพูดคุยกันในงานเสวนาออนไลน์ หัวข้อ “รู้จักแรงงานฟรีแลนซ์ & กรรมกรแพลตฟอร์ม” ภายใต้ซีรีย์ “แรงงานดิจิทัลในโลกทุนนิยม” เมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม 2563 ที่ผ่านมา
ความนิยมในการสั่งอาหารผ่านแพลตฟอร์มออนไลน์ ทำให้เกิดการขยายตัวของงานส่งอาหารรายชิ้น ที่มีชื่อเรียกอย่างเก๋ไก๋ว่า ‘งานกิ๊ก’ (gig work) โดยพนักงานขี่มอเตอร์ไซต์ส่งอาหารหรือ “ไรเดอร์” ที่บริษัทแพลตฟอร์มกำหนดสถานะเป็น “พาร์ทเนอร์” หรือหุ้นส่วน แต่กระบวนการทำงานที่เป็นจริงไม่ต่างจากพนักงานของบริษัท สถานะทางกฎหมายที่ยังคลุมเครือ รวมถึงการทำงานรายชิ้นที่สร้างรายได้ไม่สม่ำเสมอนำไปสู่ความจำเป็นในการรวมกลุ่มเพื่อปรับทุกข์และช่วยเหลือกันระหว่างไรเดอร์
สถาบันแรงงานและเศรษฐกิจที่เป็นธรรมชวนสนทนาต่อเนื่อง ในเสวนาตอนสุดท้ายของซีรีย์ “กรรมกรดิจิทัล” เรื่องการออกแบบแพลตฟอร์มที่เป็นธรรม เพื่อเริ่มต้นคิดกันถึงการออกแบบธุรกิจที่คำนึงถึงประเด็นสิทธิแรงงาน ในหัวข้อ “ส่งใบสมัครงานที่ไหนดี แฟลตฟอร์มทางเลือกที่เป็นธรรม”
แพลตฟอร์มเดลิเวอรี่ไม่ได้ทำหน้าที่เป็นเพียง “นายหน้า” จับคู่ผู้ให้และผู้รับบริการ แพลตฟอร์มเหล่านี้ยังทำหน้าที่เป็นผู้ซื้อ “กำลังแรงงาน” ที่ถูกเสนอขายโดยพนักงานขนส่งหรือไรเดอร์ผ่านช่องทางที่บริษัทแพลตฟอร์มเป็นผู้พัฒนาระบบขึ้น บริษัทแพลตฟอร์มเหล่านี้ได้แต่งหน้าแต่งตัวใหม่ เรียกขานตัวเองและพนักงานด้วยศัพท์แสงที่ประดิษฐ์ขึ้นใหม่ บดบังอำพรางกระบวนการจ้างงานแบบ outsourcing จนแทบจดจำเค้าโครงเดิมไม่ได้
ปี 2563 คนงานประจำที่ถูกเชิญออกจากงานด้วยเหตุ Covid-19 จำนวนมากไหลเข้ามาเป็นคนงานอิสระตามธุรกิจต่าง ๆ บนโลกออนไลน์ ทั้งเป็นไรเดอร์รับส่งคน-ของ-อาหาร ทั้งเป็นแม่บ้านทำความสะอาด ทั้งเป็นเทอราปิสต์ตามบ้าน ไปจนถึงอาชีพอื่นๆ ที่ปรับตัวเองจากหน้าร้านมาสู่แอปพลิเคชันออนไลน์ สถาบันแรงงานและเศรษฐกิจที่เป็นธรรม (JELI) หยิบผลงานเกี่ยวกับชีวิตการทำงานรายชิ้น (gig work) 3 เรื่องที่ชนะการประกวด “คน-งาน-ผ่านแอปฯ อาชีพอิสระใหม่ในโลกไม่มั่นคง” มารีวิวว่าเหล่าคนงานบนแพลตฟอร์มออนไลน์มีชีวิตในฐานะ ‘คนงานขาจร’ ที่ไม่ประจำตามแอปพลิเคชันอย่างไร
ในช่วงห้าปีที่ผ่านมา สังคมไทยได้เห็นการเจริญเติบโตอย่างก้าวกระโดดของธุรกิจแพลตฟอร์ม การเพิ่มจำนวนของไรเดอร์ ผู้ใช้บริการ ร้านค้าและธุรกิจที่เชื่อมต่อกับแพลตฟอร์มดิจิทัล ทำให้ธุรกิจแพลตฟอร์มรายใหญ่มีบทบาทสำคัญในการจัดสรรทรัพยากร ถึงขั้นเข้ามามีอิทธิพลต่อความสัมพันธ์ทางสังคมในหลายมิติ ไม่ว่าวิถีการผลิตแบบแพลตฟอร์มนั้นจะมีผลกระทบด้านบวกและลบต่อสังคมอย่างไรและมากเพียงใด อาจไม่เกินจริงนักที่จะกล่าวว่า อิทธิพลของแพลตฟอร์มดิจิตัลต่อการจ้างงาน การค้า การสื่อสารและรูปแบบการบริโภค อาจทำให้ผู้คนจำนวนมากไม่สามารถจินตนาการชีวิตของตนแบบไร้แพลตฟอร์มได้อีกต่อไป